วันศุกร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2556
วันอังคารที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2556
วันอังคารที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2556
วันอังคารที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันอังคารที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
งาน Google docs
https://docs.google.com/document/d/1m9FygEgDPYIsKuza3X0yc6ZprVQ5NUZzaDxOYR8PYXo/edit?usp=sharing
วันจันทร์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
บทความเกี่ยวกับบุคคละดับโลก
ฟ้าแลบ ฟ้าร้อง เกิดขึ้นได้อย่างไรนั้น ยังคงเป็นความลับทางธรรมชาติอยู่จนกระทั่งเบนจามิน แฟรงคลิน ได้ค้นพบสาเหตุที่ทำให้เกิดฟ้าแลบ ฟ้าร้อง และวิธีป้องกันความเสียหายที่เกิดจากฟ้าผ่า โดยการประดิษฐ์สายล่อฟ้าได้สำเร็จเป็นครั้งแรกเขาจึงทำการทดลองครั้งแรก โดยใช้ว่าวที่ทำด้วยผ้าแพรแทนกระดาษ อีกทั้งมีเหล็กแหลมติดอยู่ที่ตัวว่าว ส่วนปลายสายป่านเขาได้ผูกลูกกุญแจเอาไว้ และผูกริบบิ้นไว้กับสายป่านอีกทีหนึ่ง เพราะฉะนั้น
ว่าวของแฟรงคลินก็จะเป็นตัวนำไฟฟ้า แฟรงคลินได้นำว่าวขึ้นในขณะที่มีฝนตกฟ้าคะนอง เมื่อฝนตกและทำให้สายป่านเปียก ผลปรากฏว่ามีประจุไฟฟ้าไหลลงมาทางเชือกเข้าสู่ลูกกุญแจ แต่แฟรงคลินไม่ได้รับอันตรายจากกระแสไฟฟ้านั้น เนื่องมาจากเขาจับ
ริบบิ้นซึ่งเป็นฉนวนไฟฟ้า จากนั้นเขาจึงลองใช้เศษหญ้าแห้งจ่อเข้ากับลูกกุญแจ ปรากฏว่าเกิดประจุไฟฟ้าไหลเข้าสู่มือเขา จากนั้น
เขาก็นำลูกกุญแจวางลงพื้นดิน ก็เกิดประกายไฟฟ้าขึ้นอีก จากนั้นเขาจึงนำขวดเลเดน มาต่อเข้ากับกุญแจ ปรากฏว่าประจุไฟฟ้า
ไหลลงมาในขวด จากผลการทดลองแฟรงคลินสามารถสรุปถึงสาเหตุของการเกิดฟ้าแลบ ฟ้าร้อง และฟ้าผ่า ว่าเกิดขึ้นจากประจุ
ไฟฟ้าบนท้องฟ้า ซึ่งเกิดจากการเสียดสีระหว่างก้อนเมฆกับอากาศ ทำให้เกิดไฟฟ้าสถิต จากการค้นพบประจุไฟฟ้าในอากาศครั้งนี้ นำไปสู่ความคิดในการประดิษฐ์สายล่อฟ้า เพื่อระบายประจุไฟฟ้าในอากาศไม่ทำให้เกิดความเสียหายจากฟ้าผ่า แฟรงคลินได้ประดิษฐ์สายล่อฟ้าขึ้นสำเร็จเป็นครั้งแรก สายล่อฟ้าของแฟรงคลินมีลักษณะเป็นโลหะปลายแหลมผูกติดไว้บนยอดอาคารสูง ส่วนปลายโลหะเชื่อมต่อกับสายไฟยาวลงไปในแนวดิ่ง ห้ามคดหรืองอเด็ดขาด มิฉะนั้นอาจเกิดไฟฟ้าลัดวงจรได้ ปลายของสายไฟจะถูกฝังลึกลงในพื้นดินพอสมควร ซึ่งบริเวณด้านล่างของหลุมนี้จะมี
แผ่นโลหะขนาดใหญ่ปูเอาไว้ เพื่อให้กระแสไฟฟ้าที่ไหลลงมานั้นกระจายออกไปบนแผ่นโลหะนี้ สายล่อฟ้าของแฟรงคลินถือว่า
เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่มีประโยชน์อย่างยิ่งในการป้องกันความเสียหายของอาคารสูง ที่มักจะถูกฟ้าผ่าได้ง่าย อีกทั้งผู้คนที่เดินไปมา
ตามท้องถนนไม่ให้ถูกฟ้าผ่าจนถึงแก่ชีวิตได้ การค้นพบครั้งนี้ยังทำให้แฟรงคลินได้ทราบเพิ่มเติมว่าประจุไฟฟ้ามี 2 ชนิด คือ
ประจุไฟฟ้าบวก และประจุไฟฟ้าลบ
ว่าวของแฟรงคลินก็จะเป็นตัวนำไฟฟ้า แฟรงคลินได้นำว่าวขึ้นในขณะที่มีฝนตกฟ้าคะนอง เมื่อฝนตกและทำให้สายป่านเปียก ผลปรากฏว่ามีประจุไฟฟ้าไหลลงมาทางเชือกเข้าสู่ลูกกุญแจ แต่แฟรงคลินไม่ได้รับอันตรายจากกระแสไฟฟ้านั้น เนื่องมาจากเขาจับ
ริบบิ้นซึ่งเป็นฉนวนไฟฟ้า จากนั้นเขาจึงลองใช้เศษหญ้าแห้งจ่อเข้ากับลูกกุญแจ ปรากฏว่าเกิดประจุไฟฟ้าไหลเข้าสู่มือเขา จากนั้น
เขาก็นำลูกกุญแจวางลงพื้นดิน ก็เกิดประกายไฟฟ้าขึ้นอีก จากนั้นเขาจึงนำขวดเลเดน มาต่อเข้ากับกุญแจ ปรากฏว่าประจุไฟฟ้า
ไหลลงมาในขวด จากผลการทดลองแฟรงคลินสามารถสรุปถึงสาเหตุของการเกิดฟ้าแลบ ฟ้าร้อง และฟ้าผ่า ว่าเกิดขึ้นจากประจุ
ไฟฟ้าบนท้องฟ้า ซึ่งเกิดจากการเสียดสีระหว่างก้อนเมฆกับอากาศ ทำให้เกิดไฟฟ้าสถิต จากการค้นพบประจุไฟฟ้าในอากาศครั้งนี้ นำไปสู่ความคิดในการประดิษฐ์สายล่อฟ้า เพื่อระบายประจุไฟฟ้าในอากาศไม่ทำให้เกิดความเสียหายจากฟ้าผ่า แฟรงคลินได้ประดิษฐ์สายล่อฟ้าขึ้นสำเร็จเป็นครั้งแรก สายล่อฟ้าของแฟรงคลินมีลักษณะเป็นโลหะปลายแหลมผูกติดไว้บนยอดอาคารสูง ส่วนปลายโลหะเชื่อมต่อกับสายไฟยาวลงไปในแนวดิ่ง ห้ามคดหรืองอเด็ดขาด มิฉะนั้นอาจเกิดไฟฟ้าลัดวงจรได้ ปลายของสายไฟจะถูกฝังลึกลงในพื้นดินพอสมควร ซึ่งบริเวณด้านล่างของหลุมนี้จะมี
แผ่นโลหะขนาดใหญ่ปูเอาไว้ เพื่อให้กระแสไฟฟ้าที่ไหลลงมานั้นกระจายออกไปบนแผ่นโลหะนี้ สายล่อฟ้าของแฟรงคลินถือว่า
เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่มีประโยชน์อย่างยิ่งในการป้องกันความเสียหายของอาคารสูง ที่มักจะถูกฟ้าผ่าได้ง่าย อีกทั้งผู้คนที่เดินไปมา
ตามท้องถนนไม่ให้ถูกฟ้าผ่าจนถึงแก่ชีวิตได้ การค้นพบครั้งนี้ยังทำให้แฟรงคลินได้ทราบเพิ่มเติมว่าประจุไฟฟ้ามี 2 ชนิด คือ
ประจุไฟฟ้าบวก และประจุไฟฟ้าลบ
วันจันทร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2556
จงแสดงความคิดเห็นในเรื่อง tower Heist
จงแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่อไปนี้
1. ฉากหรือตอนใดในภาพยนตร์ที่นศ.ชอบมากที่สุดเพราะเหตุใด
= ตอนที่โจรไปขโมยของมูลค่า50เหรียญ...แต่ลืมคิดว่าคนที่สั่งให้ไปขโมยของนั้นคือโจร สุดท้ายคือ อย่าให้กระเป๋าตังค์หรือของมีค่าฝากหรือให้กับโจร
2. ฉากหรือตอนใดที่ไมสมจริงหรือไม่มีความเป็นเหตุเป็นผล เพราะเหตุใด
= ตอนที่เอารถลงจากตึกโดยการใช้สลิงเพื่งเส้นเดี่ยวซึ่งรถมีน้ำหนัก1ตันกว่ารวมทั้งแรงลมเข้ามาเสริมกับแรงโน้มถ่วงผมคิดว่ามันน่าขาดตั้งแต่ลากรถออกจากห้องแล้วแหละครับ
3. จงบอกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ เหตุการณ์หรือ พฤติกรรมต่างที่เห็นในภาพยนตร์ที่แตกต่างจากที่เห็นและเป็นอยู่ในสังคมบ้านเรา
= จ็อช โคแวคเธอร์ อาร์ชอว์ สไลด์ ชาลี เดฟโรวซ์ แคลร์ เด็นแฮม ฟิตซ์ฮิวจ์ เลสเตอร์
สัตว์ Dobermen และอีกตัวจำสายพันธุ์ไม่ได้ครับ
สิ่งของ ตู้เซฟ รถยนตร์ Rolls Royce ghost ferrari250G Chevrolet chevy nova
คนต่างชาติจะทุ่มเททำงานในวัยทำงานเพื่อเก็บเงินไว้ใช้ในวัยที่เกษียรอายุการทำงานเช่นเอาไปเที่ยวต่างประเทศกับครอบครับ ต่างจากประเทศเราที่ทำงานหาเงินเพื่อซื้อของมาอวดมาโชว์ซึ่งไม่ได้คิดถึงวัยตอนที่ตัวเองเกษียร
1. ฉากหรือตอนใดในภาพยนตร์ที่นศ.ชอบมากที่สุดเพราะเหตุใด
= ตอนที่โจรไปขโมยของมูลค่า50เหรียญ...แต่ลืมคิดว่าคนที่สั่งให้ไปขโมยของนั้นคือโจร สุดท้ายคือ อย่าให้กระเป๋าตังค์หรือของมีค่าฝากหรือให้กับโจร
2. ฉากหรือตอนใดที่ไมสมจริงหรือไม่มีความเป็นเหตุเป็นผล เพราะเหตุใด
= ตอนที่เอารถลงจากตึกโดยการใช้สลิงเพื่งเส้นเดี่ยวซึ่งรถมีน้ำหนัก1ตันกว่ารวมทั้งแรงลมเข้ามาเสริมกับแรงโน้มถ่วงผมคิดว่ามันน่าขาดตั้งแต่ลากรถออกจากห้องแล้วแหละครับ
3. จงบอกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ เหตุการณ์หรือ พฤติกรรมต่างที่เห็นในภาพยนตร์ที่แตกต่างจากที่เห็นและเป็นอยู่ในสังคมบ้านเรา
= จ็อช โคแวคเธอร์ อาร์ชอว์ สไลด์ ชาลี เดฟโรวซ์ แคลร์ เด็นแฮม ฟิตซ์ฮิวจ์ เลสเตอร์
สัตว์ Dobermen และอีกตัวจำสายพันธุ์ไม่ได้ครับ
สิ่งของ ตู้เซฟ รถยนตร์ Rolls Royce ghost ferrari250G Chevrolet chevy nova
คนต่างชาติจะทุ่มเททำงานในวัยทำงานเพื่อเก็บเงินไว้ใช้ในวัยที่เกษียรอายุการทำงานเช่นเอาไปเที่ยวต่างประเทศกับครอบครับ ต่างจากประเทศเราที่ทำงานหาเงินเพื่อซื้อของมาอวดมาโชว์ซึ่งไม่ได้คิดถึงวัยตอนที่ตัวเองเกษียร
วันอาทิตย์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2556
มาตรฐานเว็บนักศึกษา
- ตั้งชื่อเว็บโดยขึ้นต้นด้วย IL155คาบเรียน-ชื่อจริง (เป็นภาษาอังกฤษทั้งหมด)
- เมนูด้านข้างต้องประกอบด้วย Gadget ต่อไปนี้ คือ ข้อความแนะนำตัว, ลิงก์ และป้ายกำกับ โดยให้ข้อความแนะนำตัวขึ้นเป็นรายการแรก
- ภายใต้ Gadget ลิงก์ ให้มีลิงก์ของเว็บต่อไปนี้ คือ เว็บอาจารย์, Mediafire, GooleDocs, Ckassmarker
- แก้ไขโปรไฟล์โดยการใส่ภาพถ่าย
- ห้ามโพสต์ภาพและข้อความที่ไม่เหมาะสม
- การ Copy ภาพและข้อความจากเว็บอื่น ให้ระบุที่มาและ Copy ลิงก์ของเว็บต้นแหล่งมาไว้ให้ทราบด้วย
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)